Page 43 - ที่ระลึกพิธีถวายที่ดิน
P. 43

๔๒ ที่ระลึกพิธีถวายที่ดิน“วิเวกภาวัน”เปนอาจาริยบูชา

             ทั้งพื้นที่ประชาคม โรงเรียน โรงพยาบาล สถานสงเคราะห และ

             การมหรสพบันเทิงดวย หรือแมแตบทบาทในทางศิลปวัฒนธรรมที่นำ
             ไปตอยอดไดอยางมีคุณคา   ยิ่งไปกวานั้น การสรางวัดในอดีตยังเปน
             จารีตที่สำคัญตอการขยายการปกครองและการเศรษฐกิจเขาไปยัง

             พื้นที่ที่อยูหางไกลจากเมืองหลวง  ทั้งการเปนศูนยกลางของชุมชน
             เพื่อใหบริการเกี่ยวกับวิถีทางวัฒนธรรม ศาสนธรรม และประเพณี
             และทั้งอำนาจจากสวนกลางยังใชวัดที่สรางหรือบูรณะขึ้นเพื่อถวงดุล
             กับอำนาจของผูนำทองถิ่นดั้งเดิม ผานสมภารเจาวัดหรือพระเถระผูนำ
             ทางจิตวิญญาณ และบุคลากรภายในวัดซึ่งไมจำเปนตองเปนพระสงฆ

             หรือชาวบานรานถิ่นในทองที่ชุมชนเดิมนั้นเทานั้น    หากแตเปน
             พระหรือราษฎรและพนักงานเจาหนาที่จากถิ่นอื่นที่ยายไปสังกัด
             วัดนั้นๆก็ได  เหลานี้คือภารกิจของวัดภายใตรัฐในสมัยกอน  ดังที่มี

             คำเรียกสิ่งนี้วา“กัลปนาขาพระคนทาน” หมายถึงการที่ทางการถวาย
             ที่ดิน สิ่งของ คน หรือสิทธิหนาที่ใหแกวัดเพื่อประโยชนของวัด ชุมชน
             และสวนกลางผูกำกับดูแลวัด  ซึ่งพบไดในรัฐจารีตแถบอุษาคเนยโดย
             ทั่วไป  รวมถึงรัฐไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา  อันดินแดนภาคใตมี
             นครศรีธรรมราชเปนหัวเมืองหลักกำกับดูแลการปกครองและ

             การเศรษฐกิจ  ครอบคลุมเมืองนอยใหญในภาคใตแถบนี้    ดังที่
             นครศรีธรรมราชสงจอมนายกองตะกั่วทุงมากำกับดูแลการปกครอง
             และการสงขายสินคาแกตางชาติในปลายสมัยอยุธยา ซึ่งตอมามีผล

             ทำใหเกิดพัฒนาการของเมืองถลาง(ภูเก็ต)ที่มีการสรางวัดพระนาง
             สรางและวัดเทพกระษัตรี(วัดบานดอน)ขึ้น (ซึ่งอาจสรางหรือบูรณะขึ้น
             โดยจอมเฒาและจอมราง สองขุนนางที่ถูกสงมาจากสวนกลางในเวลา
             ไลเรี่ยเชนกัน)
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48