Page 47 - วารสารแสงธรรม เล่ม 9
P. 47
46 แสงพระธรรม กรกฎาคม 2563 ถึง มิถุนายน 2564
แสงภูเก็ต
อนามัยในอดีตเมืองภูเก็จ
หรินทร สุขวัจน
อนามัยในอดีตเมืองภูเก็จ นี้ผูเขียนเรียบเรียงจากเกร็ดขอมูลเกี่ยวกับการสาธารณสุขของเมือง
ภูเก็ต ชวงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 (2367-2394) จนถึงรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 (2453-2468)
ทั้งนี้ เพื่อประโยชนแกผูสนใจเรื่องประวัติศาสตรทองถิ่น และอาจประโลมใจในยามเผชิญ
วิกฤตโควิด-19 ที่เริ่มขึ้นเมื่อมกราคม 2563 นี้ไดบาง โดยสะกดภูเก็จ ดวย จ เนื่องจากเปนคำ
สะกดของทางราชการในชวงเวลาดังกลาว สวนบางคำสะกดดวย ต นั้นก็เมื่อมีการกำหนดให
สะกดวา ภูเก็ต แลวในสมัยร.6 ตอมานั่นเอง
หาบจำเปนตองใชแรงงานจำนวนนับรอยคน
และแลว หมูบานในทูยานตำบลกะทู(ในปจจุบัน)
อันเปนแหลงทำเหมืองซึ่งมีชุมชนคนจีนขนาด
ใหญในเวลานั้นไดเกิดโรคระบาดขึ้นในชุมชน
และไมสามารถรักษาไดในเวลาสั้นๆ อันเนื่องจาก
เมืองภูเก็จยังไมมีระบบสาธารณสุขที่ดีพอ
รองรับ
บังเอิญมีผูรูวิธีรักษาความเจ็บไขดวยหลัก
วิธีทางศาสนธรรมอยูในคณะงิ้วที่มาเปดแสดง
ชาวจีนผูแสวงโชคบนเรือเดินทะเล
ในยานนั้น ไดแนะนำใหชุมชนรวมกันบำบัด
(1) รักษาดวยการหยุดกิจกรรมตางๆ หันมาพัก
สูโรคระบาด ผอนสงบจิตใจ ทานอาหารเจ รักษาศีลและ
เมื่อแรดีบุกซึ่งเปนสินคาวัตถุดิบสงออกทวี
ความสำคัญ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยู
หัวจึงทรงใหฟนฟูเมืองถลางและเมืองภูเก็จ(ซึ่ง
เกิดขึ้นเนื่องจากพบแหลงแรดีบุกใหม)ขึ้นหลัง
จากถูกทำลายลงโดยทัพเรือพมาเมื่อป 2352
ชาวจีนที่ออกแสวงโชคในดินแดนโพนทะเลเริ่ม
หลั่งไหลเขาสูเกาะแหงนี้ สวนใหญเพื่อมาเปน
แรงงานในกิจการเหมืองแร โดยการทำเหมือง แรงงานชาวจีนในโรงอาหารของเหมืองแร