Page 48 - วารสารแสงธรรม เล่ม 9
P. 48

The Light of Dharma July 2020  – June 2021  47




















               ทวยเทพในศาลเจากะทูปจจุบัน

               สุขอนามัย  ไมนานโรคระบาดก็สิ้นไป และได

               กลายเปนประเพณีปฏิบัติประจำปของพี่นอง
               เชื้อสายจีนและอื่นๆในภูเก็ตและแผขยายออก
               ไปเปนเทศกาลถือศีลกินเจเกือบทั่วประเทศใน

               เวลาตอมา
                                                          ประภาคารเกาะตะเภานอย

                                 (2)                      โรคแหงแรกๆของไทยที่เกิดขึ้นที่ภูเก็จก็เนื่องมา
                             ดานกักโรค                   จากการทำเหมืองแรดีบุก สินคาออกที่สำคัญ
               ตอนที่ 2 นี้จะกลาวถึงระบบสาธารณสุขของ     ของไทยที่จำเปนตองใชแรงงานจากนอก

               เกาะแหงพระราชทรัพยที่สำคัญในอดีตแหงนี้  ประเทศอันไดแกชาวจีนผูออกเดินทางแสวง
               ตอจากตอนที่แลว(คือ“สูโรคระบาด” ซึ่งเปน  โชคนั่นเอง  อันเปนชวงสมัยรัชกาลที่ 4 ถึง
               ชวงรัชกาลที่ 3)  โดย“ดานกักโรค”หรือสถานที่  รัชกาลที่ 5 แหงยุครัตนโกสินทร (2394-2453)

               กักตัวชั่วคราวคนตางดาวเขาเมืองเพื่อปองกัน  การทำสนธิสัญญาเบาวริงกับอังกฤษของไทย
               โรคระบาด ซึ่งถาแปลเปนอังกฤษใหสมสมัยก็   เมื่อป 2398 ไดทำใหชาวจีนแสวงโชคหลั่งไหล
               ตองเรียกวา Local Quarantine  ทั้งนี้ ดานกัก  เขามาทางเรือสำเภาโดยตรงจากมณฑลฮกเกี้ยน
                                                          เพื่อมาทำเหมืองแรดีบุกในภูเก็จครั้งละมากๆ

                                                          โดยตองถูกนำไปพักยังเกาะตะเภาใหญ เกาะ
                                                          บริวารที่อยูไมไกลไปทางทางตะวันออกเฉียงใต
                                                          ของภูเก็จ เพื่อทำความสะอาดรางกาย สิ่งของ
                                                          ติดตัวและเสื้อผา โกนศีรษะ และกักตัวตรวจ

                                                          สุขภาพโดยแพทยกอนอนุญาตใหขึ้นเกาะภูเก็จ
                                                          ได  ใครปวยก็รักษา  ซึ่งนักประวัติศาสตรชาว
                                                          ภูเก็ตเลาวามีคาใชจายในการนี้ 1 เหรียญ 25
                                                          เซ็นต (สมัยนั้นภูเก็จใชเงินริงกิตมาเลเซียใน
               แผนที่แสดงเกาะตะเภาใหญและเกาะตะเภานอย
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53