Page 38 - วารสารแสงธรรม เล่ม 10
P. 38
The Light of Dharma July 2021 – June 2022 37
ศาลหลักเมืองน้สารวจพบราวทศวรรษ
ี
�
2490 (โดยศึกษาธิการอาเภอถลางรายงานไปยัง
�
ู
ี
�
็
้
นายอาเภอถลาง) ผ้เขยนเหนว่าน่าจะสร้างขน
ึ
หลังจากมีพระราชโองการในหลวงรัชกาลท่ 3
ี
ึ
ให้ฟื้นเมืองถลาง(เพื่อฟื้นการค้าแร่ดีบุกซ่งเป็น
สินค้าส่งออกของสยามมานานแล้ว)หลังจากพม่า
บุกมาท�าความเสยหายใหญ่หลวงในปี 2352
ี
ี
ื
โดยเม่อพระยาถลาง(เจิม) ขุนนางท่ถูกส่งมา
ิ
�
�
ประจาท้องถ่นผู้รับพระราชโองการ ได้เลือกทาเล
ท่เหมาะสมต่อการเร่มฟื้นฟูและการค้าแร่ส่งออก
ี
ิ
ทางทะเลสร้างเมืองถลางข้นมาใหม่ตรงบริเวณน ้ ี
ึ
ราวปี 2367 เรียกว่า เมืองใหม่ แล้วคงจะสร้าง
ึ
ั
้
ั
ี
่
ศาลหลกเมืองขนใกล้จวนทพกของท่านด้วย
ั
ท้งน้ เข้าใจว่าเพ่อให้ชาวบ้านชาวเมืองท่เคย
ี
ี
ื
กระจัดกระจายออกไปหลังศึกพม่าปี 2352 ม่นใจ
ั
และอพยพย้ายกลับเข้ามาเพ่มเติม รวมท้งเพ่อ
ื
ิ
ั
�
ี
สมหมาย ปิ่นพุทธศิลป์ ครั้งสํารวจพบเสาหลักเก่าแก่ที่ ให้พ่อค้าสาเภาต่างชาติท่เห็นเสาสัญลักษณ์น ้ ี
บริเวณหาดเลพังเมื่อปี 2524 แล้ววางใจกลับเข้ามาติดต่อกันใหม่ โดยอาจเป็น
ไปได้ด้วยว่าพระยาถลาง(เจิม)เลือกสร้างท่พานัก
�
ี
ข้นในบริเวณชุมชนตรงน้เน่องจากอยูไม่ไกล
ึ
ี
ื
ึ
ื
่
่
ชองแคบปากพระทางเหนอของเกาะซงชาวถลาง
พวกท่อพยพหนีภัยพม่าไปยังฝั่งพังงา(ซึ่งท่านเอง
ี
เคยเป็นยกกระบัตรกากับราชการประจาที่
�
�
ี
ั
ั
ตะก่วทุ่ง พังงามาก่อนหน้าน้ คร้งมีตาแหน่ง
�
ึ
ี
พระวิเชียรภักดีดูแลชาวถลางท่อพยพไป ซ่ง
สมัยน้นเรียกว่า กราภูงา) สามารถข้ามกลับมาได้
ั
้
ั
ู
ั
ไม่ยาก ทงยงอย่ตดกบเส้นทางน�าหลายสาย
้
ิ
ั
ได้แก่ คลองบ้านยุน คลองบางขนุน คลองเมือง
ใหม่ คลองบางระกา และใกล้ท่าเรือท่จะไปยัง
�
ี
เกาะยาวท่บ้านท่ามะพร้าวทางทิศตะวันออก
ี
อีกด้วย เหมาะท่จะใช้ในการขนส่งสินค้าเข้าออก
ี
ทะเลได้สะดวก และเม่อเมืองต้งใหม่แห่งน้เร่ม
ิ
ื
ี
ั
ั
เข้ารูปเข้ารอย มีการแต่งต้งเจ้าเมืองปกครอง
ศาลหลักเมืองภูเก็ตเมืองใหม่(ก่อนการบูรณะหลังสุด)