Page 56 - วารสารแสงธรรม เล่ม 9
P. 56

The Light of Dharma July 2020  – June 2021  5521 55
                                                             The Light of Dharma July 2020  – June 20


               ประโยชนทามกลาง และประโยชนสูงสุด หรือ         ประการสุดทาย กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
               จุดหมายเบื้องตน จุดหมายทามกลาง และ  นั้น เปนกิจกรรมที่ครองเวลาสวนใหญในชีวิต
               จุดหมายสูงสุด                              ของมนุษย เวลาสวนใหญในชีวิตของมนุษยนั้น

                     จุดหมายเบื้องตนคือ ทิฏฐธัมมิกัตถะ  ใชไปในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
               แปลวา ประโยชนทันตาเห็น ซึ่งมีความมั่นคง       ถาจะใหเศรษฐศาสตรมีคุณคาอยาง
               เพียงพอทางเศรษฐกิจรวมอยูเปนขอสำคัญ      แทจริงในการแกไขปญหาของมนุษย ก็จะตอง
                     แตประโยชนทางเศรษฐกิจ  หรือจุด      ใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกอยาง ไมวาจะ
               หมายทางเศรษฐกิจนี้จะตองประสานและ          เปนการผลิตก็ดี การทำงานก็ดี การบริโภคก็ดี

               เกื้อกูลตอจุดหมายอีกสองอยางที่สูงขึ้นไป คือ  การแจกจายก็ดีเปนกิจกรรมในการสรางสรรค
               สัมปรายิกัตถะ อันเปนประโยชนในทางจิตใจ  คุณภาพชีวิต และพัฒนาศักยภาพเพื่อชีวิตที่ดี
               ในทางคุณธรรม  ในทางคุณภาพชีวิต  และ        งาม
               ปรมัตถ คือจุดหมายสูงสุด ไดแกความเปน         เราสามารถทำใหกิจกรรมในทางเศรษฐกิจ
               อิสระของมวลมนุษยที่ภายในชีวิตจิตใจของ     ทุกอยาง เปนกิจกรรมในการพัฒนาคุณภาพ
               แตละคน                                    ชีวิตไดตลอดเวลา และนี่เปนทางหนึ่งที่จะทำให

                     ในการปฏิบัติเพื่อใหบรรลุผลอยางนี้  เศรษฐศาสตรมีคุณคาที่แทจริงในการที่จะแก
               เศรษฐศาสตรจะตองมองตนเองในฐานะเปน        ปญหาของมนุษย คือ ใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
               องคประกอบรวม ในบรรดาวิทยาการและองค      ทุกอยาง เปนกิจกรรมในการเสริมสรางคุณภาพ
               ประกอบตางๆ ที่อิงอาศัยและชวยเสริมกันและ  ชีวิต ไปดวยพรอมกัน

               กัน ในการแกปญหาของมนุษย                      เมื่อวาใหถูกแท กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่
                     เพราะฉะนั้น  ในเรื่องนี้  สิ่งสำคัญที่  ปฏิบัติอยางถูกตองยอมเปนกิจกรรมที่เปนไป
               เศรษฐศาสตรจะตองทำ  ก็คือ  การหาจุด       เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนา
               สัมพันธของตนกับวิชาการแขนงอื่นๆ วาจะรวม  ศักยภาพอยูแลวในตัว อันนี้ถือวาเปนสาระ
               มือกับเขาที่จุดไหนในวิชาการนั้นๆ จะสงตอรับ  สำคัญของเรื่องเศรษฐศาสตรแนวพุทธ ที่พูดมา
               ชวงงานกันอยางไร                          เฉพาะหัวขอใหญใจความบางเรื่อง

                     ตัวอยางเชน ในดานการศึกษาเศรษฐศาสตร    อาตมภาพไดแสดงปาฐกถาธรรมมา ก็
               จะสัมพันธหรือรวมมือกับการศึกษาเพื่อแก   พอสมควรแกเวลาขอใหงานที่รวมกันจัดครั้งนี้
               ปญหาของมนุษยที่จุดไหน เชนวา การศึกษา   ซึ่งแสดงถึงน้ำใจที่มีคุณธรรม คือ ความกตัญู
               อาจจะสอนใหมนุษยรูจักคุณคาแท คุณคาเทียม  กตเวทีและความสามัคคี เปนตน จงเปนเครื่อง
               รูจักคิดรูจักพิจารณาวา อะไรเปนคุณภาพชีวิต  ชูกำลังใจใหทุกทานมีความพรั่งพรอมในการที่

               อะไรไมเปนคุณภาพชีวิต แลวก็มาชวยกัน รวม  จะบำเพ็ญกิจหนาที่ เพื่อประโยชนสุข ทั้งสวน
               มือกับเศรษฐศาสตร ในการที่จะพัฒนามนุษย    ตัวและสวนรวม สืบตอไปชั่วกาลนาน
               ขึ้นไป


               *บทความนี้คัดมาจากหนังสือ เศรษฐศาสตรแนวพุทธ ฉบับพิมพครั้งที่ 9 พ.ศ.2548  ซึ่งเรียบเรียงจากปาฐกถาธรรม ของพระพรหม
               คุณาภรณ(ประยุทธ ปยุตฺโต ปจจุบันเปนสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย) ในมงคลวารอายุครบ 72 ป ของศาสตราจารย ดร.ปวย
               อึ๊งภากรณ ณ หอประชุมเล็ก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กรุงเทพฯ วันที่ 9 มีนาคม 2531
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61